สืบค้นสื่อเผยแพร่

  • เลือกหมวดหมู่:


คำค้นหา:


นวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กแบบองค์รวม

Title: นวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กแบบองค์รวมAuthors: ปริญญา ศรีไส และ สุลัดดา พงษ์อุทราIssue Date: -Publisher: แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพ ภายใต้มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ Abstract แนวทางการประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อการเสริมสร้างสภาวะแวดล้อมทางด้านอาหารที่เหมาะสม ผลการศึกเบื้องต้นของงานวิจัยเชิงคุณภาพ จากการรวบรวมความเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อเครื่องมือ พบว่าภาคส่วนผู้ปฏิบัติในโรงเรียน ได้แก่ ผู้อำนวยการ ครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีความคิดเห็นว่าเครื่องมือการจำแนกอาหาร ขนม นม และเครื่องดื่ม มีประโยชน์อย่างมากต่อการเสริมสร้าง "ความฉลาดทางโภชนาการ" ทั้งในโรงเรียนและสาธารณชน รวมถึงการดูแลและเสริมสร้างแวดล้อมทางด้านอาหารที่เหมาะสมในโรงเรียน
Authors: ปริญญา ศรีไส และ สุลัดดา พงษ์อุทรา
Issue Date: -
Publisher: แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพ ภายใต้มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

อาหารเสริมสำหรับเด็กทารก

อาหารตามวัย หมายถึง อาหารอื่นที่ทารกได้รับเป็นมื้อนอกเหนือจากนมแม่ หรือนมผสม เพื่อให้ทารกได้รับสารอาหารครบถ้วน และเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ช่วยให้ทารกปรับตัวจากการกินอาหารเป็นเหลวเป็นอาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลว และอาหารแบบผู้ใหญ่

Authors: BREASTFEEDING POLICY RESEARCH
Issue Date: -
Publisher: International health policy program Thailand (IHPP)

นมแม่พอไหม

ช่วงแรกเกิด เด็กไม่ต้องการปริมาณนมมากนัก เนื่องจากเด็กได้รับอาหารสะสมตั้งแต่อยู่ในท้องแม่

Authors: BREASTFEEDING POLICY RESEARCH
Issue Date: -
Publisher: International health policy program Thailand (IHPP)

การเสริมน้ำเปล่าให้ทารกอายุน้อยกว่า 6 เดือน

Title: การเสริมน้ำเปล่าให้ทารกอายุน้อยกว่า 6 เดือนAuthors: -Issue Date: -Publisher: แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (FHP) Abstract การกินนมแม่เป็นหนึ่งในวิธีที่ดีที่สุดที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และมีพัฒนาการสมวัย องค์การอนามัยโลกจึงแนะนำให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่แย่างเดียวโดยไม่ให้น้ำหรืออาหารอื่นเสริมเลยในช่วง 6 เดือนแรกของชีวิต หลังจากนั้นให้นมแม่ควบคู่กับแาหารตามวันจนเด็กอายุครบ 2 ปี หรือนานกว่านั้น อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีเด็กทารกจำนวรไม่น้อยที่ได้กินอาหารอื่นนอกจากนมแม่ก่อนจะอายุครบ 6 เดือน จากการศึกษาช่วงเวลาและปัจจัยสำคัญในการเริ่มต้นเลี้ยงลูกด้วยนมผสมหรืออาหารอื่น ซึ่งเก็บข้อมูลกลุ่มแม่และผู้ดูแลหลักของทารกและเด็กเล็กอายุ 0-2 ปี จำนวน 1,147 คน จาก 16 จังหวัดทั่วประเทศไทย พบว่า อาหารอื่นที่ทารกได้กินมากที่สุดในช่วง 6 เดือนแรก คือ น้ำเปล่า โดยแม่หรือผู้ดูแลหลักของทารกและเด็กเล็ก ร้อยละ 86.4 เคยให้ทารกกินน้ำในช่วงแรกก่อนอายุครบ 6 เดือน
Authors: -
Issue Date: -
Publisher: แผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (FHP)

คุณแม่ควรรู้เท่าทันการตลาด”นมผสม”

การขาย การซื้อ การใช้นมผสมไม่ใช่เรื่องแย่ แต่ที่แย่คือการส่งเสริมการทำการตลาดที่มุ่งเน้นผลประโยชน์ทางการค้าจนขาดจริยธรรม

Authors: International Code Documentation Centre (ICDC)
Issue Date: -
Publisher: มูลนิธิ IHPP Thailand
1 36 37 38 39 40